Search Result of "Dry evergreen forest"

About 59 results
Img
Img
Img
Img
Img
Img

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

Forest dynamics and tree distribution patterns in dry evergreen forest, northeastern, Thailand

ผู้แต่ง:ImgPhumphuang, W., ImgDr.Dokrak Marod, Professor, ImgDr.Sarawood Sungkaew, Associate Professor, ImgThinkampaeng, S.,

วารสาร:

Img

Img
Img
Img

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ

Effect of environmental gradients on tree distribution in lowland dry evergreen forest, northeastern Thailand

ผู้แต่ง:ImgDr.Dokrak Marod, Professor, ImgWongsatorn Phumphuang, ImgDr.Chongrak Wacharinrat, Lecturer,

วารสาร:

Img

Img

การประชุมวิชาการ

Subterranean nest of ant influence in soil CO2 effluxes from a dry evergreen forest

ผู้แต่ง:Imgศศิธร หาสิน, ImgAkiniri Yamada, ImgDr.Wattanachai Tasen, Associate Professor, ImgMizue Ohashi,

การประชุมวิชาการ:

Img

Img
Img
Img

การประชุมวิชาการ

DRY EVERGREEN FOREST DYNAMICS BASED ON 16 HA PERMANENT PLOT IN SAKAERAT BIOSPHERE RESERVE, NORTHEASTERN THAILAND

ผู้แต่ง:ImgWongsatorn Phumphuang, ImgDr.Yongyut Trisurat, Professor, ImgDr.Dokrak Marod, Professor,

การประชุมวิชาการ:

Img

Img
Img
Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Comparison of Quadrat Sizes for Tree Denstiy Estimation in dry Evergreen Forest )

ผู้เขียน:ImgSondak Sukwong, Imgนายสุวิทย์ แสงทองพราว, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

การใช้วิธีสุ่มตัวอย่างเพื่อประมาณความหนาแน่นของพรรณไม้ในป่าโซนร้อนนั้นมีปัญหาหลายอย่าง ทั้งนี้เพราะป่าโซนร้อนประกอบด้วยพรรณไม้หลายชนิดและถึงแม้จะมีมากชนิดก็จริงแต่จำนวนต้นต่อชนิดมักมีน้อย นอกจากนี้แล้วพรรณไม้ชนิดที่สำคัญ ก็มักไม่ขึ้นอยู่อย่างสม่ำเสมอทั่วเนื้อที่ แต่ขึ้นอยู่เป็นกลุ่มหรือเป็นหย่อมๆ ด้วยเหตุนี้เองการใช้วิธีสุ่มตัวอย่างจึงเป็นเรื่องยุ่งยาก แปลงตัวอย่างหรือที่เรียกกันว่าแปลงควอแดรท (quadrat) ควรจะมีขนาดเท่าไร จึงจะมีประสิทธิภาพมากที่สุดในสถานการณ์เช่นนี้เป็นปัญหาที่สำคัญที่จะมองข้ามเสียมิได้ ขนาดและรูปร่างของแปลงตัวอย่างที่ควรใช้นั้นย่อมขึ้นอยู่กับความมากน้อยของการจับกลุ่มของพรรณพืช

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 008, Issue 1, Jan 74 - Jun 74, Page 5 - 9 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยานิพนธ์ ปริญญาโท (จาก: บัณฑิตวิทยาลัย และ สำนักหอสมุด มก.)

หัวเรื่อง:The Comparative Study on Termite Diversity of Moist Evergreen Forest and Dry Evergreen Forest in Chanthaburi Province

ผู้เขียน:Imgศจิษฐ์ ชุติภาปกรณ์

ประธานกรรมการ:Imgจารุณี วงศ์ข้าหลวง

กรรมการวิชาเอก:Imgนายณิศ กีร์ติบุตร, ผู้ช่วยศาสตราจารย์

กรรมการวิชารอง:Imgนายอิศรา วงศ์ข้าหลวง, รองศาสตราจารย์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract


Dissertation/Thesis Info
Abstract  (cache) |  Full text  (cache)  | Page  (Info)

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Soil and Root Fungi in Sakacrat Dry Evergreen Forest )

ผู้เขียน:ImgPoonpilai Wongseenin, ImgMalee Sundhagul

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

Studies were made on soil and root fungi of the two different communities, open and dense, of dry evergreen forest at the Applied Scientific Research Corportion of Thailand’s Sakaerat Experiment Station in Northeastern Thailand. Fungal population of the root system, the rhizophere and non-rhizosphere and non-rhizosphere soil were determined. Isolation and identification of the fungi were made. Soil were also analysed for their physical and chemical characteristics. Attempts were also made to study the relationship between the fungal characteristic and the two type of the forest communities. It was found that the two communities of the forest differed in fungal density as well as in fungal composition. The fungal numbers were higher in the dense community where the soil were richer in nutrients. Most of the fungi were found were to be common to both types of forests.They are Penicillium, Aspergillus, Trichodema, gliocladium, Gongronella ad Scopulariopsis. Certain other fungi, such as Absidia and members of Mycelia sterilia, were found to confine in the dense forest soil while Cylindrocladium were confined in the open forest soil.

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 007, Issue 2, Dec 73 - Dec 73, Page 109 - 116 |  PDF |  Page 

Img

ที่มา:วิทยาสารเกษตรศาสตร์ สาขา วิทยาศาสตร์

หัวเรื่อง:ไม่มีชื่อไทย (ชื่ออังกฤษ : Radiant Energy of Dry Evergreen Forest at Sakaerat Experiment Station Amphur Pakthongchai Nakornrajasimi )

ผู้เขียน:Imgดร.เกษม จันทร์แก้ว, ศาสตราจารย์เกียรติคุณ, Imgสามัคคี บุญยะวัฒน์

สื่อสิ่งพิมพ์:pdf

Abstract

พลังงานความร้อนมีความสำคัญต่อสิ่งที่มีชีวิตทั้งมนุษย์ สัตว์ และพืช ความร้อนนี้สิ่งที่มีชีวิตมีความต้องการในปริมาณแตกต่างกัน อาจจะเป็นเพราะว่าสิ่งที่มีชีวิตเหล่านั้นพยายามที่จะปรับตัวให้เข้าได้กับความร้อน ณ ที่นั้น ๆ ก็ได้ เพราะความร้อนในแต่ละแห่งจะมีปริมาณไม่เท่ากัน ดังนั้นจึงมักพบว่าสิ่งที่มีชีวิตแต่ละแห่งบนพื้นโลกมีลักษณะความหนาแน่นแตกต่างกันไปด้วย ความร้อนที่สำคัญที่โลกได้รับนั้น คือ ความร้อนจากดวงอาทิตย์ ความร้อนของดวงอาทิตย์เหล่านี้จะได้มาจากขบวนการแผ่รังสี อันเป็นขบวนการเคลื่อนที่ของความร้อนโดยการแผ่ออกไป ไม่มีตัวกลางหรือสารเป็นตัวนำความร้อนเลย เป็นการเคลื่อนที่ของความร้อนที่มีลักษณะเป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยความเร็วเท่ากับอัตราความเร็วของแสง งานทางเกษตรกรรม และทางป่าไม้มีส่วนเกี่ยวข้องกับเรื่องของพลังงานความร้อนจากดวงอาทิตย์อย่างมาก เพราะพลังงานเหล่านี้มีบทบาทต่อสิ่งแวดล้อมที่จะให้ต่อการเจริญของต้นไม้ หรือพืชกสิกรรม เท่าที่ปรากฏให้เห็นแล้ว ชนิดพรรณไม้หรือพืชกสิกรรมจะมีความชอบในปริมาณและคุณภาพ ของรังสีดวงอาทิตย์ต่างกัน ดังจะพบว่า พื้นที่สองแห่งมีสิ่งแวดล้อมของท้องที่เหมือนกัน แต่มีปริมาณและคุณภาพของรังสีความร้อนแตกต่างกัน จึงทำให้มีพืชที่เกิดอยู่แตกต่างกันไปอย่างเห็นได้ชัด ดังนั้น การศึกษาเกี่ยวกับปริมาณ และลักษณะของรังสีดวงอาทิตย์ จึงเป็นสิ่งจำเป็นเพื่อประโยชน์ในการปลูกป่าและขยายพันธุ์พืชเป็นอย่างยิ่ง

Article Info
Agriculture and Natural Resources -- formerly Kasetsart Journal (Natural Science), Volume 009, Issue 2, Jul 75 - Dec 75, Page 149 - 161 |  PDF |  Page 

Img
123